ไปยังหน้า : |
ภิกษุ ท.! เธอทั้งหลายจะสําคัญความขอนี้วาอยางไร : ฝุนนิดหนึ่งที่เราชอนขึ้นดวยปลายเล็บนี้ กับมหาปฐพีนี้ ขางไหนจะมากกวากัน ?
" ขาแตพระองคผูเจริญ ! มหาปฐพีนั่นแหละ เปนดินที่มากกวา. ฝุนนิดหนึ่งเทาที่ทรงชอนขึ้นดวยปลายพระนขานี้ เปนของมีประมาณนอย. ฝุนนั้น เมื่อนําไปเทียบกับมหาปฐพี ยอมไมถึงซึ่งการคํานวณได เปรียบเทียบได ไมเขาถึงแมซึ่งกะละภาค"
ภิกษุ ท.! อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น : สําหรับอริยสาวกผูถึงพรอมดวย (สัมมา) ทิฏฐิ รูพรอมเฉพาะแลว, ความทุกขของทานสวนที่สิ้นไปแลว หมดไปแลว ยอมมากมากวา; ความทุกขที่ยังเหลืออยู มีประมาณนอย : เมื่อนําเขาไปเทียบกับกองทุกขที่สิ้นไปแลว หมดไปแลว ในกาลกอน ยอมไมถึงซึ่งการคํานวณไดเปรียบเทียบได ไมเขาถึงแมซึ่งกะละภาพ นั่นคือความทุกขของโสดาบันผูสัตตักขัตตุปรมะ6 ผูเห็นชัดตามเปนจริงวา "ทุกข เปนอยางนี้. เหตุใหเกิดทุกข เปนอยางนี้, ความดับไมเหลือแหงทุกข เปนอยางนี้. ทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข เปนอยางนี้" ดังนี้.
ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเปนเครื่องกระทําใหรูวา "ทุกข เปนอยางนี้, เหตุเกิดขึ้นแหงทุกข เปนอยางนี้, ความดับไมเหลือแหงทุกข เปนอยางนี้, ทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกขเปนอยางนี้". ดังนี้
- มหาวาร. สํ. 19/572/1747.
(สูตรอื่นอุปมาเปรียบดวย เม็ดกรวดเทาเม็ดถั่วเขียว ๗ เม็ด กับขุนเขาหิมาลัย (19/569/1745-1746).
อีกสูตรหนึ่งเปรียบ น้ำติดปลายใบหญาคา กับน้ำในสระกวาง ๕๐ โยชน (19/572/1748).
อีกสูตรหนึ่งเปรียบ น้ำ ๒-๓ หยดกับน้ำในแมน้ำ ๕ สายรวมกัน (19/573/1749-1750).
อีกสูตรหนึ่งเปรียบ เม็ดกระเบา ๗ เม็ด กับมหาปฐพี (19/574/1751-1752).
อีกสูตรหนึ่งเปรียบ น้ำ ๒-๓ หยด กับน้ำทั้งมหาสมุทร (19/575/1753-1754)
อีกสูตรหนึ่งเปรียบ เม็ดผักกาด ๒-๓ เม็ด กับขุนเขาหิมาลัย (19/576/1755-1756)