หลักที่ควรรู้ เกี่ยวกับสัญญา

ภิกษุ ท.! ขอที่เรากลาววา "พึงรูจักสัญญา, พึงรูจักเหตุเปนแดนเกิดของสัญญา, ถึงรูจักความเปนตางกันของสัญญา, พึงรูจักผลของสัญญา, พึงรูจักความดับไมเหลือของสัญญา, และพึงรูจักทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของสัญญา" ดังนี้นั้น, เรากลาวหมายถึงอะไรเลา ?

ภิกษุ ท.! ขอนั้น เรากลาวหมายถึง สัญญาหกเหลานี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และสัญญาในธรรมารมณ.

ภิกษุ ท.! เหตุเปนแดนเกิดของสัญญา เปนอยางไรเลา? ภิกษุท! ผัสสะ (การประจวบกันแหงอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เปนเหตุเปนแดนเกิดของสัญญา.

ภิกษุ ท.! ความเปนตางกันของสัญญา เปนอยางไรเลา? ภิกษุท.! สัญญาในรูปก็เปนอยางหนึ่ง, สัญญาในเสียงก็เปน อยางหนึ่ง, สัญญาในกลิ่นก็เปนอยางหนึ่ง, สัญญาในรสก็เปนอยางหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะก็เปนอยางหนึ่ง, และสัญญาในธรรมารมณ ก็เปนอยางหนึ่ง, ภิกษุ ท .!นี้ เรียกวา ความเปนตางกันของสัญญา.

ภิก ษุท .! ผลของสัญญา เปนอยางไรเล่า? ภิกษุ ท .! เรากลาวสัญญา วา มีถอยคําที่พูดออกมานั้นแหละ เปนผล, เพราะบุคคลยอมพูดไปตามสัญญา โดยรูสึกวา "เราไดมีสัญญาอยางนี้ๆ" ดังนี้. ภิกษุ ท.! นี้ เรียกวา ผลของสัญญา.

ภิกษุ ท.! ความดับไมเหลือของสัญญา เปนอยางไรเลา ? ภิกษุท.! ความดับไมเหลือของสัญญา มีได เพราะความดับไมเหลือของผัสสะ.

ภิกษุ ท.! อริยมรรคมีองค ๘ นี้นั่นเอง เปนทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของสัญญา, ไดแก ความเห็นชอบ ความดําริชอบ; การพูดจาชอบ การทําการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ; ความพากเพียรชอบความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ....

ภิกษุ ท .! คําใด ที่เรากล่าววา "พึงรูจักสัญญา, พึงรูจักเหตุเปนแดนเกิดของสัญญา, พึงรูจักความเปนตางกันของสัญญา, พึงรูจักผลของสัญญา, พึงรูจักความดับไมเหลือของสัญญา, และพึงรูจักทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของสัญญา" ดังนี้นั้น, เรากลาวหมายถึงความขอนี้แล.

- ฉกฺก. อํ. 22/461/334.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง