อุปมาแห่งสัญญา

ภิกษุ ท .! เมื่อเดือนทายแหงฤดู รอนยังเหลืออยู, ในเวลาเที่ยงวันพยับแดด ย่อมไหวยิบยับ . บุรุษ ผูมีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพงพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุคคลนั้นเห็นอยู เพงพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเปนของวางของเปลา และปรากฏเปนของหาแกนสารมิไดไป. ภิกษุ ท.! ก็แกนสารในพยับแดดนั้น จะพึง มีไดอยางไร, อุปมานี้ฉันใด;

ภิกษุ ท .! อุปไมยก็ฉัน นั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยูจะเปนอดีตอนาคตหรือปจจุบันก็ตาม เปนภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกลก็ตาม; ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแหง) สัญญานั้น ยอมเพงพินิจพิจารณาโดยแยบคายเมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู เพงพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู, สัญญานั้นยอมปรากฏเปนของวางของเปลา และปรากฏเปนของหาแกนสารมิไดไป. ภิกษุ ท.! ก็แกนสารในสัญญานั้น จะพึงมีไดอยางไร.

- ขนฺธ. สํ. 17/172/244.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง