(ค. การติดตามทำความกำหนดรู้ตามความเป็นจริง)

ภารทวาชะ ! ไดยินวา ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไดเขาไปอาศัยอยูในบานหรือในนิคมแหงใดแหงหนึ่ง. คหบดีหรือคหบดีบุตร ไดเขาไปใกลภิกษุนั้นแลวใครครวญดูอยูในใจเกี่ยวกับธรรม ๓ ประการ คือธรรมเปนที่ตั้งแหงโลภะ ธรรมเปนที่ตั้งแหงโทสะ ธรรมเปนที่ตั้งแหงโมหะ ทั้งหลาย (โดยนัยเปนตนวา) "ทานผูมีอายุผูนี้ จะมีธรรมอันเปนที่ตั้งแหงโลภะหรือไมหนอ อันเปนธรรมที่เมื่อครอบงําจิตของทานแลว จะทําใหทานเปนุบคคลที่เมื่อไมรูก็กลาวรู เมื่อไมเห็นก็กลาววาเห็น หรือวาจะชักชวนผูอื่นในธรรมอันเปนไปเพื่อความทุกข ไมเปนประโยชนเกื้อกูล แกสัตวทั้งหลายเหลาอื่นตลอดกาลนาน" ดังนี้; เมื่อเขาใครครวญดูอยูในใจซึ่งภิกษุนั้น ก็รูวา "ธรรมเปนที่ตั้งแหงโลภะชนิดนั้น มิไดมีแกทานผูมีอายุนี้, อนึ่ง กายสมาจาร วจีสมาจาร ของทานผูมีอายุผูนี้ ก็เปนไปในลักษณะแหงสมาจารของบุคคลผูไมโลภแลว. อนึ่ง ทานผูมีอายุนี้ แสดงซึ่งธรรมใด ธรรมนั้นเปนธรรมที่ลึก เห็นไดยาก รูตามไดยาก เปนธรรมที่รํางับ ประณีตไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงายแหงความตรึก เปนธรรมละเอียดออน รูไดเฉพาะบัณฑิตวิสัย, ธรรมนั้น มิใชธรรมที่คนผูมีความโลภจะแสดงใหถูกตองได" ดังนี้.เมื่อเขาใครครวญดูอยู ซึ่งภิกษุนั้น ยอมเล็งเห็นวา เปนผูบริสุทธิ์จากธรรมอันเปนที่ตั้งแหงโลภะ ตอแตนั้น เขาจะพิจารณาใครครวญภิกษุนั้นใหยิ่งขึ้นไปในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงโทสะ….ในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงโมหะ…. (ก็ไดเห็นประจักษในลักษณะอยางเดียวกันกับในกรณีแหงโลภะ ตรงเปนอันเดียวกันทุกตัวอักษรไปจนถึงคําวา "เมื่อเขาใครครวญดูอยูซึ่งภิกษุนั้น ยอมเล็งเห็นวาเปนผูบริสุทธิ์จากธรรมอันเปนที่ตั้งแหงโมหะ".)

ลําดับนั้น เขา (๑) ปลูกฝง ศรัทธา ลงไป ในภิกษุนั้น ครั้นมีสัทธาเกิดแลว (๒) ยอม เขาไปหา ครั้นเขาไปหาแลว (๓) ยอม เขาไปนั่งใกล ครั้นเขาไปนั่งใกลแลว (๔) ยอม เงี่ยโสตลง ครั้นเงี่ยโสตลง (๕) ยอม ฟงซึ่งธรรม ครั้นฟงซึ่งธรรมแลว (๖) ยอม ทรงไวซึ่งธรรม (๗) ยอม ใครครวญซึ่งเนื้อความแหงธรรมทั้งหลาย อันตนทรงไวแลว เมื่อใครครวญซึ่งเนื้อความแหงธรรมอยู (๘) ธรรมทั้งหลายยอมทนตอความเพงพินิจ, เมื่อการทนตอการเพงพินิจของธรรมมีอยู (๙) ฉันทะยอมเกิดขึ้น ผูมีฉันทะเกิดขึ้นแลว (๑๐) ยอม มีอุสสาหะ ครั้นมีอุสสาหะแลว (๑๑) ยอม พิจารณาหาความสมดุลยแหงธรรม ครั้นมีความสมดุลยแหงธรรมแลว (๑๒) ยอม ตั้งตนไวในธรรมนั้น; เขาผูมีตนสงไปแลวอยางนี้อยู ยอมกระทําใหแจงซึ่งปรมัตถสัจจะ ดวยนามกาย ดวย, ยอม แทงตลอดซึ่งธรรมนั้น แลวเห็นอยูดวยปญญา ดวย. ภารทวาชะ ! การตามรูซึ่งความจริง ยอมมี ดวยการกระทําเพียงเทานี้, บุคคลชื่อวายอมตามรูซึ่งความจริงดวยการกระทําเพียงเทานี้, และเราบัญญัติการตามรูซึ่งความจริง ดวยการกระทําเพียงเทานี้; แตวา นั่นยังไมเปนการตามบรรลุถึงซึ่งความจริง กอน.

"ขาแตพระโคดมผูเจริญ ! การตามรูซึ่งความจริง ยอมมีดวยการกระทําเพียงเทานี้. บุคคลเชื่อวายอมตามรูซึ่งความจริง ดวยการกระทําเพียงเทานี้. อนึ่ง ขาพเจาก็มุงหวังซึ่งการตามรูซึ่งความจริง ดวยการกระทําเพียงเทานี้. ขาแตพระโคดมผูเจริญ ! การตามบรรลุถึงซึ่งความจริง (สจฺจานุปตฺติ) มีไดดวยการกระทําเพียงเทาไร ? บุคคลชื่อวายอมตามบรรลุถึงซึ่งความจริง ดวยการกระทําเพียงเทาไร ? ขาพเจาขอถามพระโคดมผูเจริญถึงการตามบรรลุถึงซึ่งความจริง."

(ตอไปนี้ พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสวิธี การตามบรรลุถึงซึ่งความจริง ดวยการประพฤติกระทําใหมากซึ่งธรรมทั้งหลาย ๑๒ ประการ ดังที่กลาวแลวใน ขอ ค.จนกระทั่งบรรลุถึงซึ่งความจริง :-)


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง