อุปาทานและที่ตั้งแห่งอุปาทาน

ภิกษุ ท.! เราจักแสดงสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน (อุปาทานิยมธมฺม) และตัวอุปาทาน. พวกเธอทั้งหลาย จงฟงขอนั้น.

ภิกษุ ท .! สิ่งซึ่งเป็นที่ตั้งอุปาทาน เป็นอยางไร ? และ ตัวอุปาทาน เปนอยางไรเลา ?

ภิกษุ ท.! รูป (กาย) เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน, ฉันทราคะ (ความกําหนัดเพราะพอใจ) ใด เขาไปมีอยูในรูปนั้น นั่นคือ ตัวอุปาทาน ในรูปนั้น ;

ภิกษุ ท.! เวทนา เปนสิ่งซึ่งเปนที ่ตั้งแหงอุปาทาน, ฉันทราคะใด เขาไปมีอยูในเวทนานั้น ฉันทราคะนั้น คือ ตัวอุปาทาน ในเวทนานั้น;

ภิกษุ ท .! สัญญา เปนสิ่งเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน , ฉันทราคะใด เขาไปมีอยูในสัญญานั้น ฉันทราคะนั้น คือตัวอุปาทาน ในสัญญานั้น;

ภิกษุ ท .! สังขาร ทั้งหลาย เปนสิ่งซึ่งเปน ที่ตั้งแหงอุปาทาน, ฉันทราคะใด เขาไปมีอยูในสังขารทั้งหลายเหลานั้น ฉันทราคะนั้น คือ ตัวอุปาทาน ในสังขารทั้งหลายเหลานั้น

ภิกษุ ท.! วิญญาณ เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน, ฉันทราคะใด เขาไปมีอยูในวิญญาณนั้น ฉันทราคะนั้น คือ ตัวอุปาทาน ในวิญญาณนั้น.

ภิกษุ ท .! ขันธเหลานี้ เรียกวาสิ่งซึ่งเปน ที่ตั้งแหงอุปาทาน, ฉันทราคะนี้ เรียกวา ตัวอุปาทาน แล.

- ขนฺธ. สํ. 17/202/309.

(ในสูตรอื่นทรงแสดง อุปาทานิยธรรม ดวยอายตนะภายในหก (18/110/160) และอายตนะภายนอกหก (18/136/190).


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง