หลักที่ควรรู้ เกี่ยวกับทุกข์

ภิกษุ ท.! ขอที่เรากลาววา "พึง รูจักทุกข. พึง รูจักเหตุเปนแดนเกิดของทุกข, พึงรูจักความเปนตางกันของทุกข, พึงรูจักผลของทุกข, พึงรูจักความดับไมเหลือของทุกข, และพึงรูจักทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของทุกข" ดังนี้นั้น, ขอนั้น เรากลาวหมายถึงอะไรเลา ?

ภิกษุ ท.! ขอนั้น เรากลาวหมายถึง ความเกิด เปนทุกข, ความแก เปนทุกข, ความเจ็บไข เปนทุกข, ความตาย เปนทุกข, ความโศกความร่่ำไรร่ำพัน ความทุกขกาย ความทุกขใจ ความคับแคนใจ เปนทุกข, ความปรารถนาอยางใดแลว ไมไดอยางนั้น เปนทุกข; กลาวโดยสรุปแลว ปญจุปาทานักขันธ เปนทุกข.

ภิกษุ ท.! เหตุเปนแดนเกิดของทุกข เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! ตัณหา เปนเหตุเปนแดนเกิดของทุกข.

ภิกษุ ท.! ความเปนตางกันของทุกข เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! ทุกขที่มีประมาณยิ่ง มีอยู, ที่มีประมาณเล็กนอย มีอยู, ที่คลายชา มีอยู, และที่คลายเร็ว มีอยู. ภิกษุ ท.! นี้เรียกวา ความเปนตางกันของทุกข.

ภิกษุ ท.! ผลของทุกข เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกขชนิดใดครอบงําแลว มีจิตอันความทุกขรวบรัดแลวยอมโศกเศรา ยอมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห ยอมถึงความหลงใหล; หรือวา ถูกความทุกขชนิดใดครอบงําแลว มีจิตอันความทุกขรวบรัดแลว ยอมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอกวา "ใครหนอยอมรูวิธี เพื่อความดับไมเหลือของทุกขนี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี" ดังนี้. ภิกษุ ท.! เรากลาววา ความทุกขมีความหลงไหลเปนผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่งภายนอกเปนผล. ภิกษุ ท.! นี้เรียกวา ผลของทุกข.

ภิกษุ ท.! ความดับไมเหลือของทุกข เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! ความดับไมเหลือของทุกข มีได เพราะความดับไมเหลือของตัณหา.

ภิกษุ ท.! อริยมรรคมีองค ๘ นี้นั่นเอง เปนทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของทุกข, ไดแก ความเห็นชอบ ความดําริชอบ; การพูดจาชอบการทําการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบความตั้งใจมั่นชอบ. ....

ภิกษุ ท.! คําใด ที่เรากลาววา "พึงรูจักทุกข, พึงรูจักเหตุเปนแดนเกิดของทุกข, พึงรูจักความเปนตางกันของทุกข, พึงรูจักผลของทุกข, พึงรูจักความดับไมเหลือของทุกข, และพึงรูจักทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของทุกข" ดังนี้นั้น, เรากลาวหมายถึงความขอนี้ แล.

- ฉกฺก. อํ. 22/464/334.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง