มูลฐานแห่งการบัญญัติเบญจขันธ์ (แต่ละขันธ์)

“ขาแตพระองคผูเจริญ ! อะไรเปนเหตุปจจัย เพื่อการบัญญัติรูปขันธเวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ และวิญญาณขันธ เลา ? พระเจาขา !"

ภิกษุ ! มหาภูต (ธาตุ) สี่อยาง เปนเหตุเปนปจจัย เพื่อการบัญญัติรูปขันธ;

ภิกษุ ! มหาภูต (ธาตุ) สี่อยาง เปนเหตุเปนปจจัย เพื่อการบัญญัติรูปขันธ;

ภิกษุ ! ผัสสะ (การประจวบแหงอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เปนเหตุเปนปจจัย เพื่อการบัญญัติ เวทนาขันธ;

ภิกษุ ! ผัสสะ เปนเหตุเปนปจจัย เพื่อการบัญญัติ สัญญาขันธ;

ภิกษุ ! ผัสสะ เปนเหตุเปนปจจัย เพื่อการบัญญัติ สังขารขันธ;

ภิกษุ ! นามรูป แล เปนเหตุปจจัย เพื่อการบัญญัติ วิญญาณขันธ.

- อุปริ. ม. 14/102/124.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง