หลักอริยสัจ 4 โดยสังเขป (อีกนัยหนึ่ง ทรงแสดงด้วยอายตนะ 6)

ภิกษุ ท.! อริยสัจมีสี่อยางเหลานี้ สี่อยางเหลาไหนเลา ? สี่อยางคือ อริยสัจคือทุกข อริยสัจคือทุกขสมุทัย อริยสัจคือทุกขนิโรธ อริยสัจคือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.

ภิกษุ ท.! อริยสัจคือทุกข เปนอยางไรเลา ? ควรจะกลาววาไดแก อายตนะภายในหก. อายตนะภายในหก เหลาไหนเลา? คือจักขุอายตนะ โสตะอายตนะ ฆานะอายตนะ ชิวหาอายตนะ กายะอายตนะ มนะอายตนะ. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา อริยสัจคือทุกข.

ภิกษุ ท.! อริยสัจคือทุกขสมุทัย เปนอยางไรเลา ? คือตัณหาอันใดนี้ ที่เปนเครื่องนําใหมีการเกิดอีก อันประกอบดวยความกําหนัดเพราะอํานาจความเพลิน มักทําใหเพลิดเพลินยิ่งในอารมณนั้น ๆ; ไดแก กามตัณหาภวตัณหา วิภวตัณหา. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา อริยสัจคือทุกขสมุทัย.

ภิกษุ ท.! อริยสัจคือทุกขนิโรธ เปนอยางไรเลา ? คือความดับสนิทเพราะความจางคลายไปโดยไมเหลือของตัณหานั้น ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปลอยวาง ความไมอาลัยถึง ซึ่งตัณหานั่นเอง. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา อริยสัจคือทุกขนิโรธ.

ภิกษุ ท.! อริยสัจคือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เปนอยางไรเลา ? คือหนทางอันประเสริฐ ประกอบดวยองคแปดประการนี้นั่นเอง; ไดแกสิ่งเหลานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา อริยสัจคือทุกขนิโรธคามินี-ปฏิปทา.

ภิกษุ ท.! เหลานี้แล อริยสัจ ๔ อย่าง.

ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเปนเครื่องกระทําใหรูวา "ทุกข เปนอยางนี้, ทุกขสมุทัย เปนอยางนี้, ทุกขนิโรธ เปนอยางนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เปนอยางนี้" ดังนี้.

- มหาวาร. สํ. 19/535/1684-1689.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

หนังสือที่เกี่ยวข้อง