ไปยังหน้า : |
ภิกษุ ท.! อาศัยตากับ รูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรูแจงทางตา) ขึ้น, อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรูแจงทางหู) ขึ้น, อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรูแจงทางจมูก) ขึ้น, อาศัยลิ้นกับรสเกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรูแจงทางลิ้น) ขึ้น, อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิดกายวิญญาณ (ความรูแจงทางกาย) ขึ้น และอาศัยใจกับธรรมารมณ เกิด มโนวิญญาณ (ความรูแจงทางใจ) ขึ้น; ความประจวบกันแหงสิ่งทั้งสาม (เชน ตา รูป จักขุวิญญาณ เปนตน แตละหมวด) นั้นชื่อวา ผัสสะ เพราะผัสสะเปนปจจัยจึงเกิดมีเวทนา อันเปนสุขบาง ทุกขบาง ไมทุกขไมสุขบาง. บุคคลนั้น เมื่อ สุขเวทนา ถูกตองแลว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนืองอยู ในสันดานของบุคคลนั้น. เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกตองแลว ย่อมเศราโศก ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู ในสันดานของบุคคลนั้น. เมื่อ เวทนาอันไมทุกขไมสุข ถูกตองแลว ยอมไมรูตามเปนจริง ซึ่งเหตุใหเกิดเวทนานั้นดวย ซึ่งความดับแหงเวทนานั้นดวย ซึ่งอัสสาทะ (รสอรอย) ของเวทนานั้นดวย ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นดวย ซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพน) ของเวทนานั้นดวย, อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู ในสันดานของบุคคลนั้น.
ภิกษุ ท.! บุคคลนั้นหนอ ยังละอนุสัยคือราคะในเพราะสุขเวทนาไมได, ยังบรรเทาอนุสัยคือปฏิฆะในเพราะทุกขเวทนาไมได, ยังถอนอนุสัยคืออวิชชาในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไมได, ยังละอวิชชาไมได และยังทําวิชชาใหเกิด ขึ้นไมไดแลว จักทําที่สุดแหงทุกข ใหทิฏฐธรรม (ปจจุบัน ) นี้ดังนี้ : ขอนี้ไมใชฐานะที่จักมีไดเลย.
- อุปริ. ม. 14/516/822.